บทบรรณาธิการ |
คลังหลวงแห่งประเทศไทย www.klangluang.com พิมพ์โดย : ศิลป์สยามบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์ กรุงเทพมหานคร ขัอมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ คลังหลวงแห่งประเทศไทย. - กรุงเทพฯ : ศิลป์สยามบรรจุภัณฑ์และการพิมพ์, ๒๕๕๑. ๓๑๒ หน้า. ๑.เงินสำรองระหว่างประเทศ. I.ชื่อเรื่อง.
คณะบรรณาธิการ
๑. พระอาจารย์สุดใจ ทันตมโน ๒. พระครูอรรถกิจนันทคุณ ๓. พระอาจารย์สมภพ อภิวัณโณ ๔. พระอาจารย์ทวี กตปุญโญ ๕. พระอาจารย์รัฐวีร์ ฐิตวีโร ๖. พระอาจารย์สรรวัศ ปภัสสโร
คณะที่ปรึกษาฝ่ายบรรพชิต
๑. พระอาจารย์ณรงค์ อาจาโร ๒. พระอาจารย์สวัสดิ์ ปิยธัมโม ๓. พระอาจารย์จิรวัฒน์ อัตตรักโข ๔. พระอาจารย์บุญมี ธัมมรโต ๕. พระอาจารย์เฉลิม ธัมมธโร ๖. พระอาจารย์ธีระยุทธ์ ธีรยุธโน
๗. พระอาจารย์บำรุง นวพโล ๘. พระอาจารย์วิทยา กิจจวิชโช
คณะที่ปรึกษาฝ่ายฆราวาส๙. พระอาจารย์สุลาน ปภัสสโร ๓. ดร.ดาราวรรณ เด่นอุดม ๔. ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ ๕. คุณไพศาล พืชมงคล ๖. ศ.ดร.ตีรณ พงษ์มฆพัฒน์
๗. ดร.ปรียานุช พิบูลสราวุธ ๘. คุณเรวดี ผลวัฒนสุข หนังสือเล่มนี้สำเร็จลงได้ด้วยความสามัคคีร่วมกันปกป้องคลังหลวงของคณะสงฆ์และประชาชนทั่วประเทศ และด้วยน้ำใจความเสียสละและความร่วมมือจากหลายท่านที่มิได้ระบุนามไว้ในที่นี้ อนุเคราะห์แบบปกโดย ผศ. เงินถุงแดง เป็นพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ในอันที่จะสำรองทุนไว้ใช้จ่ายในการทำนุบำรุงศาสนา และใช้ในคราวเกิดภาวะคับขันของประเทศ หลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน ได้น้อมนำหลักธรรมในพระพุทธศาสนามาสืบสานต่อ ในคราวที่ประเทศไทยเกิดปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ โดยท่านได้ใช้ ทองคำ เป็นทุนสำรองอันสำคัญ ปกหนังสือเล่มนี้ ได้ผสมผสานสื่อสัญลักษณ์ของ เงินถุงแดง เหรียญสตางค์แดง ส่วนเสี้ยวของทองคำซึ่งคัดมาจากภาพศาสนสถาน นำมาประกอบกันเป็นรัศมีอันโชติช่วง สัญลักษณ์ต่างๆ เหล่านี้ จัดวางไว้ภายใต้คำว่า คลังหลวงแห่งประเทศไทย บ่งบอกนัยยะที่ว่า ทองคำที่ได้มาจากพุทธศาสนิกชนนั้น มีจุดมุ่งหมายเพื่อใช้เป็นฐานค้ำยันความมั่นคงของประเทศ และค้ำจุนพระพุทธศาสนาอีกโสดหนึ่งด้วย www.klangluang.com
|
< ก่อนหน้า | ถัดไป > |
---|