ลืมรหัสผ่าน?
  • Narrow screen resolution
  • Wide screen resolution
  • Auto width resolution
  • Increase font size
  • Decrease font size
  • Default font size
  • default color
  • red color
  • green color
Home arrow บทความวิชาการ
บทความวิชาการ
การแก้ไข พ.ร.บ.เงินตรา กับนโยบายการเงิน : โดย ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ PDF พิมพ์ อีเมล์
เขียนโดย คำบรรยายโดย ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ   
supavud_saicheua.jpeg

จาก หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ.2550 ปีที่ 31 ฉบับที่ 3943 (3143 )หน้า 46 คอลัมน์ เศรษฐกิจต้องรู้  ผมอ่านบทความของ คุณผ่องเพ็ญ เรืองวีรยุทธ ที่ตีพิมพ์ในกรุงเทพธุรกิจวันที่ 12 ต.ค.2550 ซึ่งเขียนว่า ได้พยายามชี้แจงหลักการ เหตุผลและสาระสำคัญของการแก้ไข พ.ร.บ.เงินตราในฐานะตัวแทน ธปท.ซึ่งนำเสนอประเด็นที่เป็นข้อถกเถียงกัน รวมทั้งสิ้น 5 ประเด็น และสำหรับผมนั้นไม่ติดใจประเด็นใดเลย เว้นแต่ประเด็นสุดท้าย คือ ความเป็นห่วงเรื่องการไม่นับรวมกำไรขาดทุนที่เกิดจากการตีราคาไว้กับผลประโยชน์ประจำปี แปลว่าหากทุนสำรองที่ส่วนใหญ่เป็นเงินเหรียญสหรัฐลดค่าลง ธปท.ก็จะไม่ต้องนำเอาการเสื่อมค่าดังกล่าวไปคิดคำนวณเป็นผลขาดทุน/กำไรประจำปีของ ธปท.

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม...
 
ควรเลื่อน พ.ร.บ.เงินตรา โดย ดร.วิวัฒน์ชัย อัตถากร PDF พิมพ์ อีเมล์
เขียนโดย คำบรรยายโดย ดร.วิวัฒน์ชัย อัตถากร   

viwatchai.jpg

แหล่งที่มา  หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์  ฉบับวันที่ 10  ตุลาคม  2550  หน้าที่4  คอลัมน์เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิต 

ควรเลื่อน  พ.ร.บ.เงินตรา 
โดย  ดร.วิวัฒน์ชัย  อัตถากร

 1.นำเรื่อง  ร่าง พ.ร.บ.เงินตรา  พ.ศ. .....  ได้ถูกนำเข้าสู่สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.)  เมื่อวันพุธที่ 3 ตุลาคม  2550  ท่ามกลางกระแสคัดค้านท้วงติงจากสังคม  รัฐบาลจึงเลื่อนการพิจารณาออกไปอีกหนึ่งสัปดาห์เป็นวันพุธที่  10  ตุลาคม  2550  ทางกระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)  ยังคงยืนยันความจำเป็น  ในขณะที่อีกฝ่ายท้วงติงด้วยความห่วงใยอยากให้แก้ไข 2.บทบาท  ธปท.   ภาระกิจหลักของ ธปท. คือ การดูแลความมั่นคงทางการเงินของชาติ  รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ  ไม่ให้เกิด เงินเฟ้อ / เงินฝืด / เงินตึงจนเกินไป  กำหนดนโยบายการเงินอย่างเหมาะสม  กำกับตลาดการเงิน  ตลาดทุน  และสถาบันการเงิน  ดูแลค่าเงินบาทหรืออัตราแลกเปลี่ยนให้มีค่าถูกต้องสม่ำเสมอ  ไม่ผันผวน  มีเสถียรภาพ  ทั้งหมดนี้ก็เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้เข้มแข็งเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม...
 
การแก้ไข พ.ร.บ.เงินตรา โดย ดร.วีรพงษ์ รามางกูร PDF พิมพ์ อีเมล์
เขียนโดย คำบรรยายโดย ดร.วีรพงษ์ รามางกูร   
interviewdrveerapong01.jpgโดย ดร.วีรพงษ์ รามางกูรรองนายกรัฐมนตรีและอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง          

ที่มา : หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2550 ปีที่ z31 ฉบับที่ 3932 (3132)  หน้า 49 พระราชบัญญัติเงินตรานับเป็นพระราชบัญญัติที่มีความสำคัญที่ใช้กำกับการดำเนินนโยบายการเงินในการรักษาเสถียรภาพทางการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย ร่วมกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังโดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็น ผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติฉบับนี้

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม...
 
คลังหลวงของปวงชน PDF พิมพ์ อีเมล์
เขียนโดย คำบรรยายโดย ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล   

4334861low.jpg“คลังหลวงของปวงชน”  บรรยายโดย ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (๕ ส.ค. ๔๕)

“คลังหลวงของปวงชน”  

 บรรยายโดย ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย (๕ ส.ค. ๔๕) ในช่วงตั้งแต่ปลายปี ๒๕๓๙ ถึงกลางปี ๒๕๔๐ ธนาคารแห่งประเทศไทยพยายามที่จะรักษาค่าเงินบาทให้สูงอยู่ในระดับที่๑ ดอลลาร์เท่ากับ ๒๕ บาท โดยการนำเงินดอลลาร์สหรัฐออกขายในตลาด การนำเงินดอลลาร์สหรัฐออกขายในตลาดนี้ ทำได้เฉพาะโดยการนำเงินจากฝ่ายกิจการธนาคารเท่านั้น ไม่สามารถนำเงินออกจากฝ่ายออกบัตรหรือที่เราเรียกกันติดปากว่า “คลังหลวง” ได้ เพราะมีกฎหมายห้ามไว้

อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม...
 
<< หน้าแรก < ย้อนกลับ 1 2 ถัดไป > สุดท้าย >>

ผลลัพธ์ 10 - 13 จาก 13